บทความ

ภาคการทำงานโทรศัพท์เคลื่อนที่

ภาคการทำงานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 1.ภาค BB หรือ ภาค Baseband ระบบเครือข่ายแบบเบสแบนด์ (Baseband) จะเป็นการสื่อสารข้อมูลที่สายสัญญาณหรือตัวกลางในการส่งผ่านสัญญาณสามารถส่งได้เพียงหนึ่งสัญญาณในเวลาขณะใดขณะหนึ่งเท่านั้น นั่นคือ อุปกรณ์ที่ใช้งานสายสัญญาณในขณะนั้นจะครอบครองช่องสัญญาณทั้งหมดโดยอุปกรณ์อื่นจะไม่สามารถร่วมใช้งานได้เลย ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ ระบบโทรศัพท์ เป็นต้น ซึ่งการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ส่วนมากจะเป็นการสื่อสารแบบ Baseband รวมทั้งการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์อื่น ๆ(เช่น เครื่องพิมพ์ จอภาพ) การสื่อสารผ่าน modems และการสื่อสารผ่านเครือข่ายหลักๆ ด้วย ยกเว้นเครือข่ายแบบ B-ISDN ที่เป็นแบบ Broadband Baseband  คือการเข้ารหัส ทางดิจิตอล โดยมีค่าทางไฟฟ้า 0 และ 1 โดยแบ่งออกเป็ตามมาตรฐาน ต่างๆ ดังนี้ 10 Base 5 , 10 ฺBase 2 ,10 Base-T, 1Base5 และ 100ฺBase-T โดยตามมาตรฐานคือการส่งสัญญาณ 10 Base xx คือ 10 Mbps ส่วนด้านหลังคือความยาวของสาย เช่น 100Base -T คือ ความเร็ว 100 Mbps ใช้บนสาย Pair หรือสายแลน โดย   Baseband   จะใช้วิธีการส่ง คือช่องสื่อสารเดียว ซึ่งแตกต่างกับ แบบ  B

ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่

รูปภาพ
ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน)  ให้บริการ 2 เครือข่ายคือ ให้บริการระบบ NMT470 (ปัจจุบันปรับระบบไปใช้เป็นโครงข่าย โทรศัพท์สาธารณะเคลื่อนที่ และใช้เป็นระบบโทรศัพท์เพื่อให้บริการแก่ประชาชนในเขตนอกข่ายสายและถิ่นทุรกันดาร โดยใช้เป็นโทรศัพท์ประจำที่ติดตั้งภายในอาคาร มีสายอากาศรับสัญญาณ ภายหลัง พ.ศ. 2551 จึงได้ปรับระบบเป็น CDMA 2001X [3]  ให้บริการระบบ  3G  บนโครงข่าย HSPA บนความถี่ 1900MHz(ความถี่ ThaiMobile เดิม) และความถี่ 2100MHz(ความถี่ทดลอง) ในชื่อ TOT 3G  ในพื้นที่ กทม. บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) เจ้าของโครงข่าย และให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2 เครือข่าย ในระบบ 3G บนเทคโนโลยี CDMA 2000 1x EV-DO ภายใต้ชื่อ "CATCDMA" สำหรับบริการทางเสียงและ SMS ของ CAT CDMA ใช้งานได้ 77 จังหวัดทั่วประเทศ สำหรับบริการอินเทอร์เน็ตและสื่อสารข้อมูล ใช้งานได้ 52 จังหวัด ในพื้นที่ภาคเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ และใต้ ได้แก่ เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง อุตรดิตถ์ แพร่ น่าน พะเยา เชียงราย แม่ฮ่องสอน ชัยนาท นครสวรรค์ อุทัยธานี กำแพงเพชร ตาก สุโขทัย พิษณุโลก พิ

บล็อกไดอะแกรมเครื่องรับ-ส่งวิทยุสื่อสาร

รูปภาพ
เครื่องรับวิทยุสื่อสาร เครื่องรับวิทยุสื่อสาร แบบ Superheterodyne วิทยุกระจายเสียงแบบ AM จะ มีช่วงความถี่อยู่ที่ประมาณ 535 KHz - 1,605 KHz แต่ละ สถานีจะมี Bandwidth ประมาณ 10 KHz ความถี่ IF เท่ากับ 455 KHz AM radio is broadcast on several frequency bands วิทยุกระจายเสียงระบบ AM ส่งออกอากาศ ด้วยหลายช่วงความถ ี่ วิทยุคลื่นยาว หรือ Long wave ,LW ออกอากาศที่ความถี่ 153 kHz–279 kHz สถานีจะมี Bandwidth ประมาณ 9 KHz วิทยุคลื่น ปานกลาง หรือ Medium wave , MW ออกอากาศที่ความถี่ 535 kHz–1,605 kHz. แต่ละ สถานีจะมี Bandwidth ประมาณ 10 KHz วิทยุคลื่นสั้น หรือ Short wave , SW ออกอากาศที่ความถี่ 2.3 MHz – 26.1 MHz โดยจะแบ่งออกเป็น 15 ช่วงความถี่ย่อย แต่ละ สถานีจะมี Bandwidth ประมาณ 5 KHz ช่วงความถี่นี้จะเดินทางได้ไกล ที่สุด ตัวอย่างเครื่องรับ วิทยุคลื่นสั้น RF Amplifier ทำหน้าที่ขยายสัญญาณวิทยุที่รับเข้ามาจากสายอากาศ ในส่วนนี้จะมีวงจร Tune เลือกรับมาเฉพาะ ความถี่ช่วง 535 KHz - 1,605 KHz สายอากาศของเครื่องรับวิทยุแบบ AM วงจร Mixer ทำหน้าที่ผสมคลื่น จากภาค RF amp. และ Local Osci